• Facebook - White Circle
  • YouTube - White Circle
  • รู้จักอาจารย์หยาง

    • อาจารย์ชี่กงท่านอื่นๆ
  • ข่าวและกิจกรรม

    • อ.หยาง Channel
    • ชี่กง
    • ชี่กง ภาษาจีน
    • สุขภาพน่ารู้
    • ประสบการณ์นักเรียน
  • วิชาสุขภาพ

    • หลักสูตร
  • สินค้า

  • ติดต่อเรา

  • Facebook

  • More

    Use tab to navigate through the menu items.
    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’
ตอนที่ 11 ชี่กงท่ายืนอรหันต์ขจัดโรคและเสริมสุขภาพของคนเราได้อย

    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’ ตอนที่ 11 ชี่กงท่ายืนอรหันต์ขจัดโรคและเสริมสุขภาพของคนเราได้อย

    หลังจากที่ศาสตราจารย์ เฟ่ยหลุน (费伦)ค้นพบว่า เส้นใยคอลลาเจนซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมากในร่างกายมนุษย์มีคุณสมบัติเป็นเสมือนหนึ่งเส้นใยแก้วนำแสง และมีการตั้งสมมติฐานว่าเส้นใยคอลลาเจนเป็นช่องทางเดินของ ชี่ ในกายเนื้อ ซึ่งในทางวิทยาศาสตร์ควอนตัม มีความเชื่อว่าชี่เป็นต้นกำเนิดของพลังงานในรูปแบบต่างๆ แต่ที่พบมากก็คือ รังสีอินฟราเรด (Infrared ray) ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์บางกลุ่มได้ทำการวิจัยต่อยอดด้วยการใช้รังสีอินฟราเรดมาพิสูจน์การมีอยู่จริงในเชิงรูปธรรมของเส้นลมปราณ Klaus-Peter Schlebus
    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’
ตอนที่ 10 วิทยาศาสตร์กับการค้นพบเส้นลมปราณ

    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’ ตอนที่ 10 วิทยาศาสตร์กับการค้นพบเส้นลมปราณ

    ในตอนที่แล้วได้ทิ้งท้ายไว้ว่า ผู้ที่น่าจะตอบคำถามได้ดีที่สุดว่า “ความเป็นวิทยาศาสตร์ของ ชี่กง เป็นที่ประจักษ์(ต่อชาวโลก) แล้วหรือยัง?” ก็คือนักวิทยาศาสตร์ที่มีผลงานเกี่ยวกับพลังงานภายในตัวมนุษย์นั่นเอง ซึ่งในหนังสือชื่อ “人体使用手册” (อ่านว่า เหรินถี่สื่อย่งโส่วเช่อ) เขียนโดย吳清忠 (อ่านว่าอู๋ชิงจง) แปลเป็นภาษาไทยในชื่อ “เข็มทิศสุขภาพ” โดย อมร ทองสุก (รูปที่ 1) ได้บรรยายถึงผลงานอันน่าตื่นตลึงมากที่สุดของบรรดานักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบระบบหมุนเวียน (Circulatory System) ลึกลับที่หลบเร้นจา
    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’
ตอนที่ 9 ความเป็นวิทยาศาสตร์ของ‘ชี่กง’

    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’ ตอนที่ 9 ความเป็นวิทยาศาสตร์ของ‘ชี่กง’

    ในตอนที่แล้ว จบลงตรงที่หลิว กุ้ยเจินชายผู้ให้กำเนิดคำว่า ‘ชี่กง’ ในสังคมโลก ได้ทิ้งคำทำนายไว้ว่า “วันหนึ่ง ความเป็นวิทยาศาสตร์ของ ‘ชี่กง’ จะเป็นที่ประจักษ์” ผู้อ่านบางท่านอาจอยากทราบว่า คำทำนายอายุเกือบ 50 ปีนี้ ได้กลายเป็นความจริงแล้วหรือยัง? เพื่อตอบคำถามนี้ เราควรเริ่มต้นวิเคราะห์คำว่า‘ชี่กง’ กันก่อนเป็นอันดับแรก โดยประเด็นที่จะสมควรจะนำมาพิจารณาก็คือ ‘ชี่กง’ มีคำนิยามอย่างไร?เป็นคำนิยามที่สะท้อนความเป็นวิทยาศาสตร์หรือไม่? จากดิกชันนารี Merriam-Webster (ที่มา https://www.m
    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’
ตอนที่ 8 ชายผู้ให้กำเนิดคำว่า‘ชี่กง’ ในสังคมโลก

    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’ ตอนที่ 8 ชายผู้ให้กำเนิดคำว่า‘ชี่กง’ ในสังคมโลก

    วันพฤหัสฯ ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561 ผมได้เข้าฟังการบรรยายของอาจารย์หยาง เผยเซิน ในหลักสูตร ‘คัมภีร์ชี่กง’ และได้รับแจกเอกสารที่จั่วหัวว่า “วิชาชี่กง เปรียบดั่งสุราดีไม่กลัวตรอกลึก” โดยในย่อหน้าแรกได้เท้าความว่า“... แต่เดิม ศาสตร์วิชาชี่กง มีการเรียกขานด้วยชื่ออื่น อาทิ เต๋าอิ่น (导引), ถู่น่า (吐纳), หย่างเซิง (养生), เลี่ยนตัน (炼丹), จื่อกวน (止观), ฉันติ้ง (禅定) เป็นต้น ทว่า ทั้งหมดนี้ล้วนมีรากฐานเดียวกัน ต่างกันเพียงแต่ชื่อ จวบจนปัจจุบันจึงเรียกรวมกันว่า ชี่กง ...” ก็เลยอยากต่อยอดให้พิ
    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’
ตอนที่ 7 ความขยันหมั่นเพียร

    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’ ตอนที่ 7 ความขยันหมั่นเพียร

    วันเสาร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561 ที่ผ่านมา ทางศูนย์ธรรมชาติบำบัดอาจารย์หยางได้ทำพิธีมอบประกาศนียบัตรให้แก่ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมวิชาชี่กง ‘กวงอิมจื้อไจ้กง’ ขั้นที่ 1 จำนวน 18 ท่าน นับเป็นศิษย์ฯรุ่นที่ 127 (ดูรูปที่ 1) ขอเล่าถึงประสบการณ์จากการฝึกชี่กงที่เกิดขึ้นกับศิษย์ฯ รุ่นที่ 127 นี้จำนวน 5ท่านซึ่งผมพิจารณาแล้วว่าเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์อันทรงคุณค่า และสมควรแบ่งปันให้เป็นที่รับรู้กันในวงกว้าง ซึ่งนอกจากเป็นการให้เครดิตแก่ท่านเหล่านี้แล้วยังจะเป็นแบบอย่างที่ดีสำหรับใช้บำรุงเลี้ย
    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’
ตอนที่ 6  ฟ้า- คน - ดิน (ภาค 2)

    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’ ตอนที่ 6  ฟ้า- คน - ดิน (ภาค 2)

    สถานที่ที่เป็นสัปปายะ นอกจากจะมีวิตามินในอากาศที่อยู่ในรูปของน้ำมันหอมระเหยที่ขจรขจายจากแมกไม้นานาพันธุ์แล้ว วงการวิทยาศาสตร์ยังค้นพบวิตามินในอากาศอีกชนิดหนึ่งที่ผมขอเรียกว่า ‘วิตามินไอ’ ก็แล้วกันครับแต่ชื่ออย่างเป็นทางการของมันก็คือ ไอออนลบ (Negative ion) นั่นเอง ปกติแล้ว อะตอมของก๊าซในอากาศจะมีจำนวนโปรตอน (ประจุ +) ในนิวเคลียสเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน(ประจุ -) ที่วิ่งวนอยู่รอบๆ ทำให้มันเป็นกลางทางไฟฟ้า แต่ถ้ามีพลังงานบางอย่างมากระทำกับอะตอมของก๊าซจนทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกมา นั
    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’
ตอนที่ 6  ฟ้า- คน - ดิน (ภาค 1)

    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’ ตอนที่ 6  ฟ้า- คน - ดิน (ภาค 1)

    ในตอนที่แล้ว ได้เล่าถึงการหายใจตามเคล็ดวิชาถู่น่าไปแล้ว ซึ่งการที่จะฝึกวิชานี้ให้สำเร็จนอกจากจะต้องมี ‘ฝ่า’ (法คือ การมีวิธีฝึกที่ถูกต้อง) แล้ว เรายังต้องมี ‘ตี้’ (地คือ การมีสถานที่ที่มีสิ่งแวดล้อมที่ดี) จึงจะทำให้การฝึกก้าวหน้าเร็ว เมื่อเปิดพจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พบคำว่า Sappaya อ่านว่า สัปปายะ แปลว่า “สภาพแวดล้อม ซึ่งเป็นที่สบาย เกื้อกูล สนับสนุนในการบำเพ็ญและประคับประคองรักษาสมาธิให้ได้ผลดี ตั้งมั่นไม่เสื่อมถอย” แบ่งออกเป็น 7 ประการ ซึ่งบทความ
    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’
ตอนที่ 5 หายใจออก-หายใจเข้า

    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’ ตอนที่ 5 หายใจออก-หายใจเข้า

    ในบทความตอนที่ 2 ผมได้เล่าถึงมุมมองของแพทย์แผนจีนที่ว่า“ความเจ็บป่วยของคนเราล้วนเป็นผลของการต่อสู้ระหว่าง ‘เจินชี่’ (พลังแท้ในร่างกาย) กับ ‘เสียชี่’ (พลังก่อโรค)”นั้นการแพทย์ในซีกโลกตะวันตกก็ให้การยอมรับต่อมุมมองนี้อาทิเช่น คล็อด เบร์นาร์(Claude Bernardค.ศ. 1813-1878) นักสรีรศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้กล่าวไว้ในแนวคิดMilieu Interieur ของท่านว่า “ภาวะถูกพิษในตัวเอง (Autointoxication) คือศัตรูที่ร้ายกาจที่สุดของมนุษย์ มันเป็นรากเหง้าแห่งความเจ็บไข้ได้ป่วยทั้งหมดของคนเรา” เพื่อพิสูจน์แ
    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’
ตอนที่ 4 สาร ‘จิง’ ของจอมยุทธ์

    บทความชุด ‘ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561’ ตอนที่ 4 สาร ‘จิง’ ของจอมยุทธ์

    วิชาชี่กง มักถูกมองว่าเป็นเรื่องของการฝึก‘ชี่’ (พลังงานในร่างกาย) เพียงอย่างเดียว ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ถูกเพียงบางส่วน อาจารย์หยาง เผยเซิน มักกล่าวย้ำอยู่เสมอว่า ชี่กง คือ การฝึก ‘จิง-ชี่-เสิน’ ผู้เรียนชี่กงมักตั้งคำถามกับผมว่า จะฝึก‘ชี่’อย่างไร? จะฝึก‘เสิน’อย่างไร? แต่ไม่เคยมีใครแม้แต่คนเดียวถามผมว่า จะฝึก‘จิง’อย่างไร?ทั้งๆ ที่ ‘จิง’ตามทัศนะการแพทย์จีน คือสารจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตที่จะขาดไปเสียไม่ได้ หรือเรียกว่าสารชีวิตที่เป็นของเหลว ซึ่งเป็นวัตถุพื้นฐานที่ช่วยให้ร่างกายม
    บทความชุด “ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561”
ตอนที่ 3 Muscle of the Soul

    บทความชุด “ชี่กงกวงอิมจื้อไจ้กง 2561” ตอนที่ 3 Muscle of the Soul

    เรามาทำความรู้จักเจ้ากล้ามเนื้อแสนกลนี้กันต่อเลยครับ หากดูเผินๆ Psoas major ก็ไม่เห็นมีอะไรพิสดาร ก็แค่กล้ามเนื้อที่ยึดโยงกระดูกขาส่วนบน(Femur) ไว้กับกระดูกสันหลังส่วนเอว ส่วนหน้าที่ของมัน เท่าที่มีระบุไว้ในหนังสือชื่อ “การฝึกความแข็งแรงรูปแบบ Functional Training สำหรับนักกีฬา(ฉบับปรับปรุงใหม่)” พิมพ์ครั้งที่ 1 : มีนาคม 2558 จัดพิมพ์โดยกรมพลศึกษา หน้า 22 เขียนไว้สั้นๆ ว่า “กล้ามเนื้อIliacus และ Psoas major ซึ่งมักเรียกว่ากล้ามเนื้อ Iliopsoas ทำหน้าที่งอข้อสะโพก” แต่ผู้คร่ำหวอ
    12
    3
    4

    ศูนย์พัฒนาการแพทย์แผนไทย ถนนทรัพย์ (ศูนย์ชี่กงเพื่อสุขภาพอาจารย์หยาง)

    เลขที่ 71 อาคารจี.พี. เฮ้าส์ ถนนทรัพย์ สี่พระยา บางรัก กรุงเทพฯ 10500

    E-mail: qigong_thai@yahoo.com

    ไลน์ 1 : qg_yang  หรือ ไลน์ 2 : qigong_yang

    Facebook page : ชี่กงอาจารย์หยาง

    ​

    โทร. 02 637 0121, 086 378 5331

    ​